สูตรในวิชาฟิสิกส์ ม.4

สำหรับ ม.4 เทอม 1
เนื้อหาที่มีสูตร คือ -เรื่องการวัดและแปรความหมายข้อมูล
-เรื่องแสงและการเห็น
-ปรากฏการณ์คลื่น
-การวัดและแปลความหมายข้อมูล
สูตร เปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อน
A% = * 100%
A = * A
สูตร การบวก - ลบ - คูณ - หาร - ความคลาดเคลื่อน
บวก ( A A ) + ( B B ) = ( A + B ) ( A + B )
ลบ ( A A ) - ( B B ) = ( A - B ) ( A + B )
คูณ ( A A ) ( B B ) = ( A * B ) ( A B + B A )
หาร =
สูตร เปอร์เซ็นความคลาดเคลื่อนของเลขยกกำลัง
X% = pA% + q B% + r C%
X =
( A )n = An n A * 100%
A - ค่าที่วัดได้
A - ความคลาดเคลื่อนของการวัด
สูตร สมการเส้นตรง
y = mx + c
m - ค่าคงที่ ( ความชัน )
y - ตัวแปรตาม
x - ตัวแปรต้น
c - ค่าคงตัวมีขนาดเท่ากับระยะที่กราฟตัดแกน y
สูตร การหาค่าความชันบนเส้นกราฟ
m = tan =
y - ผลต่างที่เกิดขึ้นบนแกน y
x - ผลต่างที่เกิดขึ้นบนแกน x
แสงและการมองเห็น
สูตร การหามุมวิกฤต
=
= nน้อย / nมาก
Sin 90 ํ = 1
สูตร ลึกจริง ลึกปรากฏ
= = = ลึกปรากฏ / ลึกจริง = ระยะภาพ / ระยะวัตถุ
สูตร การเปรียบเทียบดรรชนีหักเห
มองเฉียง = = ลึกปรากฏ / ลึกจริง
มองตรง = = ลึกปรากฏ / ลึกจริง
n1 = n2 =
n1 - ดรรชนีหักเหของวัตถุ
n2 - ดรรชนีหักเหของอากาศ
c - อัตราเร็วของแสง ( 3*108 m/s )
v - ความเร็วของแสงในวัตถุ
สูตร การหาความยาวโฟกัส
f =
=
u =
v =
ปรากฎการณ์คลื่น
สูตร การสะท้อนของแสง
i = r
i - รังสีตกกระทบ
r - รังสีสะท้อน
สูตร เลื่อนกระจก
อัตราเร็วของภาพในกระจก = 2 เท่าของอัตราเร็วของกระจก
สูตร การเกิดภาพในกระจกเงาราบ
- ความสูงของภาพ
O - ความสูงของวัตถุ
V , - ระยะภาพ
U , S - ระยะวัตถุ
เมื่อหมุนกระจกเงาระนาบเป็นมุม มุมบ่ายเบนจะเปลี่ยนไปจากเดิม 2
ถ้าต้องการเห็นภาพของตนเองในกระจกเต็มตัว จะใช้กระจกสูงเพียง ของความสูงของตนเอง
สูตร การคำนวณหาจำนวนภาพ เมื่อกระจกทำมุม ใด ๆ ต่อกัน
จำนวนภาพ ( n ) =
สูตร การหักเหของแสง
= = = =
=
- แสงผ่านจากตัวกลางที่ 1 ไปยังตัวกลางที่ 2
- แสงผ่านจากตัวกลางที่ 2 ไปยังตัวกลางที่ 1
n1 - ดรรชนีหักเหของตัวกลางที่ 1
n2 - ดรรชนีหักเหของตัวกลางที่ 2
v - อัตราเร็วของแสงในตัวกลางใด ๆ
- ความยาวคลื่น
- มุมตกกระทบ
- มุมหักเห
n =
n - ดรรชนีหักเหของตัวกลางเทียบกับอากาศ
c - ความเร็วของแสงในสูญญากาศ
v - ความเร็วของแสงในตัวกลางใด ๆ
----------------------------
สูตร การหามุมวิกฤต
=
= nน้อย / nมาก
Sin 90 ํ = 1
สูตร ลึกจริง ลึกปรากฏ
= = = ลึกปรากฏ / ลึกจริง = ระยะภาพ / ระยะวัตถุ
สูตร การเปรียบเทียบดรรชนีหักเห
มองเฉียง = = ลึกปรากฏ / ลึกจริง
มองตรง = = ลึกปรากฏ / ลึกจริง
n1 = n2 =
n1 - ดรรชนีหักเหของวัตถุ
n2 - ดรรชนีหักเหของอากาศ
c - อัตราเร็วของแสง ( 3*108 m/s )
v - ความเร็วของแสงในวัตถุ
สูตร การหาความยาวโฟกัส
f =
=
u =
v =
---------------------------------------------------
สูตร หากำลังขยาย
m = = = =
f - ความยาวโฟกัส
R - รัศมีความโค้งของเลนส์
v - ระยะภาพ
u - ระยะวัตถุ
m - กำลังขยาย
I - ขนาดภาพ
O - ขนาดวัตถุ
สูตร กล้องจุลทรรศน์
กำลังขยายกล้องจุลทรรศน์ = mo * me
ความยาวของกล้องจุลทรรศน์ = S'o * Se
me - กำลังขยายของเลนส์ใกล้ตา
mo - กำลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
S'o - ระยะภาพของเลนส์ใกล้วัตถุ
Se - ระยะภาพของเลนส์ใกล้ตา
สูตร กล้องโทรทรรศน์
กำลังขยายของกล้องโทรทรรศน์ =
ความยาวของบกล้องโทรทรรศน์ = fo + fe
fo - ความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้วัตถุ
fe - ความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้ตา
สูตร การหาความสว่าง
E =
E - ความสว่าง
F - อัตราพลังงานที่แสงตกพื้น
A - พื้นที่รับแสง
สูตร ประสิทธิภาพของหลอดไฟ
ประสิทธิภาพของหลอดไฟ = ปริมาณแสงที่เปล่งออกมา / กำลังวัตต์ที่เข้าไป
กฏของแลมเบิร์ตโคไซน์
E2 = E1 Cos 0
E1 - ความสว่างบนพื้นที่ผิวรับแสง
E2 - ความสว่างบนพื้นที่ผิวรับเอียงแสง
- มุมที่พื้นที่รับแสงเอียงไปจากแนวฉาก
สำหรับม.4 เทอม 2
- เรื่องเสียงและการได้ยิน จะคล้ายกับเรื่องปรากฎการณ์คลื่น- และเรื่องแรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ จะเรียนเรื่องกฎของนิวตัน
เสียงและการได้ยิน
สูตร การหาความเร็วของเสียงในอากาศ
vt = 331 + 0.6t
vt - อัตราเร็วเสียงในอากาศที่อุณหภูมิ t ใด ๆ ( m / s )
t - อุณหภูมิของอากาศ ( ํc ) ต้องน้อยกว่า 45 ํc
สูตร การหาระยะทางของการสะท้อนของเสียง
s =
s - ระยะทาง
v - ความเร็ว
t - เวลา
สูตร การหาความถี่ของคลื่นลัพธ์
=
- ค่าเฉลี่ยของความถี่ที่เกิดขึ้น
f1 - ความถี่ของแหล่งกำเนิด
f2 - ความถี่ของแหล่งกำเนิด
สูตร การหาความถี่บีตส์
fB = =
fB - ความถี่บีตส์
- ผลต่างของความถี่บีตส์ , ความถี่บีตส์
=
l - ความยาวเชือก
n - จำนวน loop , จำนวนนับ
สูตร การหาความเร็วของคลื่นตามขวาง
v =
T - แรงตึงในเชือก ( นิวตัน )
- มวล / ความยาว ( kg / m )
สูตร การหาความถี่ในท่อปลายเปิด
fn =
fn - ความถี่
n - จำนวนนับ
u - อัตราเร็ว
l - ความยาวของท่อ
สูตร การหาความถี่ในท่อปลายปิด
fn =
n - จำนวนนับ ( แต่ต้องเป็นเลขคี่ )
สูตร การหาความเข้มเสียง
I =
I - ความเข้มเสียง ณ ตำแหน่งต่าง ๆ ( วัตต์ / ตารางเมตร )
P - กำลังเสียงของแหล่งกำเนิดเสียง ( วัตต์ )
R - ระยะระหว่างแหล่งกำเนิดเสียงกับตำแหน่งที่หาความเข้มเสียง ( เมตร )
f ' = fo
f ' - ความถี่ที่ผู้ฟังได้ยิน
fo - ความถี่ของแหล่งกำเนิด
vl - ความเร็วของผู้ฟัง
vs - ความเร็วของแหล่งกำเนิด
สูตร การหาความถี่ที่ผู้ฟังได้ยิน
เมื่อผู้ฟังเคลื่อนที่เข้าหาแหล่งกำเนิด และแหล่งกำเนิดอยู่นิ่ง
fL =
เมื่อผู้สังเกตุเคลื่อนที่ห่างแหล่งกำเนิด และแหล่งกำเนิดอยู่นิ่ง
fL =
fL - ความถี่ผู้สังเกตุ , ความถี่ที่ผู้ฟังได้ยิน
u - ความเร็วเสียงในอากาศ
vL - ความเร็วของผู้ฟัง
สูตร การหาความยาวคลื่นเสียงเมื่อแหล่งกำเนิดเคลื่อนที่
เมื่อแหล่งกำเนิดวิ่งเข้าหาผู้ฟัง ( ด้านหน้า )
น =
เมื่อแหล่งกำเนิดวิ่งห่างจากผู้ฟัง ( ด้านหลัง )
ล =
น - ความยาวคลื่นด้านหน้า
ล - ความยาวคลื่นด้านหลัง
สูตร การหาเลขมัค ( Mach nuber )
เลขมัค = = =
สูตร การหาความเร็วของเครื่องบินซุปเปอร์โซนิค
v = u * เลขมัค
สูตร การหาความเร็ว
v = =
v - ความเร็วเฉลี่ย
s1 , s2 - การกระจัด
t1 , t2 - เวลา
- ผลต่างของการกระจัด
- ผลต่างของเวลา
vขณะหนึ่ง = 0
vขณะหนึ่ง - ความเร็วขณะหนึ่ง
การหาอัตราเร็วเฉลี่ย และอัตราเร็วขณะหนึ่ง มีสูตรเหมือนความเร็ว แต่เป็นปริมาณสเกลาร์
สูตร การหาความเร่ง
a = =
a - ความเร่งเฉลี่ย
aขณะหนึ่ง = 0
aขณะหนึ่ง - ความเร่งเฉลี่ยขณะหนึ่ง
สูตร การหาการกระจัด และระยะทาง
s = ut + = =
v = u + at
v2 = u2 + 2as
สูตร การหาความเร่ง
a = = =
s - ระยะทาง ( ไม่คิดเครื่องหมาย )
s - การกระจัด ( คิดเครื่องหมาย )
v - ความเร็วปลาย
t - เวลา
u - ความเร็วต้น
a - ความเร่ง , ความเร่งเฉลี่ย
- ความเร็วที่เปลี่ยนไป
- ช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงความเร็ว
สูตร แรงที่กระทำต่อวัตถุ
F = ma
F - แรงที่กระทำ
m - มวล
a - ความเร่ง
สูตร การหาน้ำหนัก
W = mg
W - น้ำหนัก
m - มวล
g - แรงโน้มถ่วงโลก หรือ ความเร่ง
สูตร อัตราส่วนระหว่างน้ำหนักของมวล 2 ก้อน เมื่ออยู่ในบริเวณเดียวกัน
=
W1 - น้ำหนักมวลก้อน 1
W2 - น้ำหนักมวลก้อน 2
m1 - มวลก้อน 1
m2 - มวลก้อน 2
สูตร กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน
FG =
FG - ขนาดของแรงดึงดูด
G - ค่าคงตัวความโน้มถ่วงสากล
ค่า = 6.673*10-11 Nm2 / kg2
m1 , m2 - มวลของวัตถุ
R - ระยะห่างของวัตถุทั้ง 2
g =
me - มวลโลก
Re - ระยะจากจุดศูนย์กลางถึงตำแหน่งต่าง ๆ
สูตร อัตราส่วนความเร่งกับระยะห่างของวัตถุทั้ง 2
= =
g1 , g2 - ความเร่งของวัตถุทั้ง 2
R1 , R2 - ระยะห่างของวัตถุทั้ง 2
h - ความสูง
สูตร การหาแรงของวัตถุในแนวดิ่ง
วัตถุมีทิศทางขึ้น
T - mg = ma
วัตถุมีทิศทางลง
mg - T = ma
T - แรงที่วัตถุกระทำ
ที่มา:http://www.thaiblogonline.com/
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น