ขับเคลื่อนโดย Blogger.
RSS

สูตรฟิสิกส์สำหรับนักเรียน ม.5


สูตรวิชาฟิสิกส์สำหรับ ม.5




สำหรับม.5 เทอม 1 เรื่องที่จะเรียนคือ
-เรื่องสมดุลกล
-เรื่องงานและพลังงาน
-เรื่องการชนและโมเมนตัม
สมดุลกล
สูตร  สมดุล
แรงซ้าย     =     แรงขวา
แรงขึ้น    =    แรงลง
โมเมนต์ตาม     =    โมเมนต์ทวน

ทฤษฎี
ท.บ.ลามี

สูตร   แทนแรง

สูตร   ตั้งฉากแรง


งานและพลังงาน
สูตร  พลังงาน
 E    =    
Ep     =    mgh
Fสปริง    =    KS
Epยย    =     KS  =   FS

Ek    -    พลังงานจลน์ (J)
Ep     -    พลังงานศักย์  (J)
Epยย     -    พลังงานศักย์ยืดหยุ่น (ศักย์สปริง) (J)
K    -    ค่าคงที่สปริง N/m

สูตร  งานในวินาทีที่ n
Sวินาทีที่ n    =    
Wสูบ+ฉีด    =    mgh +

สูตร  กฎการอนุรักษ์พลังงาน
E+  Ekแรก  =  Ep +  Ekหลัง
Ekที่เพิ่ม  =   Ep ที่ลด
Ek2 =  Ek1 +       

สูตร  ประสิทธิภาพ
       Eff  =      W ที่ยกได้จริง         x  100 %
                  W เต็มที่ที่ควรยกได้    

     Eff  =   M.A. ปฎิบัติจริง        x  100 %
                  M.A.  ทฤษฎี

   M.A. จริง   =  W ยกได้จริง                              F จริง

     M.A. ทฤษฎี  =  W ที่ควรยกได้                                  F  จริง

การชนและโมเมนตัม
สูตร  โมเมนตัม
P  =  mv

p - โมเมนตัม  (kg.m/s)
m - มวล  (kg)
v - ความเร็ว  (m/s)

สูตร  การดล
Ft  =  mv - mu
F  =  
F  -  แรง (N)
m  -  มวล  (kg)
t  -  เวลา  (s)

สูตร  กฎการอนุรักษ์โมเมนตัม
ก่อนชน  =   หลังชน
mv ลูกปืน  =  Mv ตัวปืน

สำหรับ ม.5 เทอม 2 นี้จะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับไฟฟ้าล้วนๆ เลย
-ไฟฟ้าสถิต
-แม่เหล็ก-ไฟฟ้า

ไฟฟ้าสถิต
สูตร  แรงระหว่างประจุ
F  -  แรงระหว่างประจุ
r  -  ระยะห่าง

สูตร  สนามไฟฟ้า
 -  ความต่างศักย์ระหว่างแผ่นโลหะ
d  -  ระยะห่างระหว่างแผ่นคู่ขนาน
k  -  9 x 109  

สูตร  ศักย์ไฟฟ้า
= q(vB - vA)
V  -  ศักย์ไฟฟ้า
Ep  -  พลังงานศักย์ไฟฟ้า
W  -  งานในการเคลื่นที่ประจุ
 -  งานจาก  A  ไป  B

สูตร  การรวมศักย์ไฟฟ้า
Vรวม  =  

สูตร  พลังงานไฟฟ้า
W  =  QV
W  -  งานไฟฟ้า
Q  -  ประจุไฟฟ้า
V  -  ความต่างศักย์

V  =  IR
V  -  ความต่างศักย์
I  -  กระแส
R  -  ความต้านทาน

สูตร  พลังงานศักย์ไฟฟ้า (Ep)
Wฟฟ  =  qv  =  
Ek  =  Wไฟฟ้า

สูตร  ตัวเก็บประจุ
C  -  ค่าความจุไฟฟ้า  (F)
Q  -  ประจุไฟฟ้าที่เก็บไว (c)้
V  -  ศักย์ไฟฟ้าของตัวนำ  (V)
a  -  รัศมีทรงกลม
k  -  ค่าคงที่คูลอมบ์ 9 x 109 

ไฟฟ้ากระแส
 สูตร  กระแสและปริมาณไฟฟ้า
I  -  กระแสไฟฟ้า
Q  -  ปริมาณของประจุไฟฟ้า
t  -  เวลา
  V  -  ความเร็วของ  e-  อิสระ
A  -  พื้นที่หน้าตัดของลวดตัวนำ
n  -  จำนวน  e-  /  ปริมาตรของตัวนำ
e  -  ประจุไฟฟ้าของ  e-  1 ตัว  =  1.6 x 10-19  คูลอมบ์

สูตร  สภาพความต้านทาน
R  -  ความต้านทานไฟฟ้า
P  -  สภาพต้านทาน
L  -  ความยาว
A  -  พื้นที่หน้าตัด (ตร.ม.)

สูตร  แรงเคลื่อนไฟฟ้า
E  -  แรงเคลื่อนที่ไฟฟ้า
R  -  ความต้านทานภายนอก
r  -  ความต้านทานภายใน

สูตร  การรวมความต้านทาน
แบบอนุกรม
Rtotal  =  
แบบขนาน

สูตร  การรวมวงจร
อนุกรม
Rรวม  =  
Iรวม  =  
Vรวม  =  
Eรวม  =  
ขนาน
Vรวม  =  
Eรวม  =  
Iรวม  =  

สูตร  กำลังไฟฟ้า
P  -  กำลังไฟฟ้า
I  -  กระแส
R  -  ความต้านทาน

สูตร  การคิดค่าเงินไฟฟ้า
Unit  =  กิโลวัตต์ x ชั่วโมง

สูตร  งานไฟฟ้าต้มน้ำ
w = mc
  pt = mc            J/kg.k
   0.24 pt  = mc       cal/kg.k
แม่เหล็ก-ไฟฟ้า
สูตร   แม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก
 -  จำนวนเส้นแรงแม่เหล็กหรือฟลักซ์แม่เหล็กที่ผ่านพื้นผิว  A
A  -  พื้นที่ตั้งฉากที่ฟลักซ์แม่เหล็กผ่าน (ตร.ม.)
B  -  ความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก  (veber/ตร.ม.)

สูตร   แรงกระทำต่ออนุภาคที่มีสนามแม่เหล็ก
F = qvB
F  -  แรงกระทำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า
v  -  ขนาดความเร็ว
B  -  ขนาดของสนามแม่เหล็ก

สูตร   แรงที่กระทำต่อลวดตัวนำที่มีกระแสไฟฟ้าผ่าน  เมื่อวางอยู่ในสนามแม่เหล็ก
 -  ความยาวของลวดตัวนำ
v  -  ความเร็วลอยเลื่อน

N  -  จำนวนอิเล็คตรอน
e  -  ประจุไฟฟ้าอิเล็คตรอน

สูตร   แรงกระทำต่อลวดตัวนำ
F = qvB
F  =  NevB
F  =  I B
F  -  แรงกระทำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า
v  -  ขนาดความเร็ว
B  -  ขนาดของสนามแม่เหล็ก
 -  ความยาวของลวดตัวนำตรง
I  -  กระแสไฟฟ้า

สูตร   แรงกระทำต่อขดลวดที่อยู่ในสนามแม่เหล็ก
M  =  IAB
M  =  BIAN
M  -  โมเมนต์ของแรงคู่ควบ
I  -  กระแส
N  -  จำนวนรอบ
A  -  พื้นที่ขดลวด
สูตร   หม้อแปลง
N1  -  จำนวนรอบของลวดปฐมภูมิ
N2  -  จำนวนรอบของลวดทุติยภูมิ
E1  -  แรงเคลื่อนไฟฟ้าของลวดปฐมภูมิ
E2  -  แรงเคลื่อนไฟฟ้าของลวดทุติยภูมิ

W1  -  พลังงานไฟฟ้าของขดลวดปฐมภูมิ
W2  -  พลังงานไฟฟ้าของขดลวดทุติยภูมิ
t  -  เวลา

สูตร   แรงกระทำต่อขดลวดที่อยู่ในสนามแม่เหล็ก
M  =  IAB
M  =  BIAN
M  -  โมเมนต์ของแรงคู่ควบ
I  -  กระแส
N  -  จำนวนรอบ
A  -  พื้นที่ขดลวด

สูตร   หม้อแปลง
N1  -  จำนวนรอบของลวดปฐมภูมิ
N2  -  จำนวนรอบของลวดทุติยภูมิ
E1  -  แรงเคลื่อนไฟฟ้าของลวดปฐมภูมิ
E2  -  แรงเคลื่อนไฟฟ้าของลวดทุติยภูมิ

W1  -  พลังงานไฟฟ้าของขดลวดปฐมภูมิ
W2  -  พลังงานไฟฟ้าของขดลวดทุติยภูมิ
t  -  เวลา

ที่มา:http://www.thaiblogonline.com


  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

สูตรวิชาฟิสิกส์นักเรียน ม.4


สูตรในวิชาฟิสิกส์ ม.4



สำหรับ  ม.4  เทอม  1    
เนื้อหาที่มีสูตร คือ  
-เรื่องการวัดและแปรความหมายข้อมูล
 -เรื่องแสงและการเห็น
-ปรากฏการณ์คลื่น
-การวัดและแปลความหมายข้อมูล
สูตร    เปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อน
A%    =     * 100%
A       =     * A

สูตร    การบวก - ลบ - คูณ - หาร - ความคลาดเคลื่อน
บวก    ( A A ) + ( B B )    =    ( A + B ) ( A + B )
ลบ     ( A A ) - ( B B )    =    ( A - B ) ( A + B )
คูณ    ( A A )  ( B B )    =    ( A * B ) ( A B + B A )
หาร                            =            

สูตร    เปอร์เซ็นความคลาดเคลื่อนของเลขยกกำลัง
X%    =    pA% + q B% + r C%
X    =    
( A )n    =    An n A * 100%
A    -    ค่าที่วัดได้
A    -    ความคลาดเคลื่อนของการวัด

สูตร    สมการเส้นตรง
y    =    mx + c
m    -    ค่าคงที่ ( ความชัน )
y    -    ตัวแปรตาม
x    -    ตัวแปรต้น
c    -    ค่าคงตัวมีขนาดเท่ากับระยะที่กราฟตัดแกน y

สูตร    การหาค่าความชันบนเส้นกราฟ
m    =    tan    =    
y    -    ผลต่างที่เกิดขึ้นบนแกน y
x    -    ผลต่างที่เกิดขึ้นบนแกน x

แสงและการมองเห็น
สูตร    การหามุมวิกฤต
=    
=    nน้อย / nมาก
Sin 90 ํ    =    1

สูตร    ลึกจริง ลึกปรากฏ
=        =        =    ลึกปรากฏ / ลึกจริง    =    ระยะภาพ / ระยะวัตถุ

สูตร    การเปรียบเทียบดรรชนีหักเห
มองเฉียง        =        =    ลึกปรากฏ / ลึกจริง
มองตรง        =        =    ลึกปรากฏ / ลึกจริง
n1    =                    n2    =    
n1    -    ดรรชนีหักเหของวัตถุ
n2    -    ดรรชนีหักเหของอากาศ
c    -    อัตราเร็วของแสง ( 3*108 m/s )
v    -    ความเร็วของแสงในวัตถุ

สูตร    การหาความยาวโฟกัส
f    =    
=    
u    =    
v    =    

ปรากฎการณ์คลื่น


สูตร    การสะท้อนของแสง
i    =    r
i    -    รังสีตกกระทบ
r    -    รังสีสะท้อน

สูตร    เลื่อนกระจก
อัตราเร็วของภาพในกระจก    =    2 เท่าของอัตราเร็วของกระจก

สูตร    การเกิดภาพในกระจกเงาราบ

-    ความสูงของภาพ
O    -    ความสูงของวัตถุ
V ,    -    ระยะภาพ
U , S    -    ระยะวัตถุ
เมื่อหมุนกระจกเงาระนาบเป็นมุม มุมบ่ายเบนจะเปลี่ยนไปจากเดิม 2
ถ้าต้องการเห็นภาพของตนเองในกระจกเต็มตัว จะใช้กระจกสูงเพียง ของความสูงของตนเอง

สูตร    การคำนวณหาจำนวนภาพ เมื่อกระจกทำมุม ใด ๆ ต่อกัน
จำนวนภาพ ( n )    =    

สูตร    การหักเหของแสง
=        =        =        =    
=    
-    แสงผ่านจากตัวกลางที่ 1 ไปยังตัวกลางที่ 2
-    แสงผ่านจากตัวกลางที่ 2 ไปยังตัวกลางที่ 1
n1    -    ดรรชนีหักเหของตัวกลางที่ 1
n2    -    ดรรชนีหักเหของตัวกลางที่ 2
v    -    อัตราเร็วของแสงในตัวกลางใด ๆ
-    ความยาวคลื่น
-    มุมตกกระทบ
-    มุมหักเห
n    =    
n    -    ดรรชนีหักเหของตัวกลางเทียบกับอากาศ
c    -    ความเร็วของแสงในสูญญากาศ
v    -    ความเร็วของแสงในตัวกลางใด ๆ
----------------------------

สูตร    การหามุมวิกฤต
=    
=    nน้อย / nมาก
Sin 90 ํ    =    1

สูตร    ลึกจริง ลึกปรากฏ
=        =        =    ลึกปรากฏ / ลึกจริง    =    ระยะภาพ / ระยะวัตถุ

สูตร    การเปรียบเทียบดรรชนีหักเห
มองเฉียง        =        =    ลึกปรากฏ / ลึกจริง
มองตรง        =        =    ลึกปรากฏ / ลึกจริง
n1    =                    n2    =    
n1    -    ดรรชนีหักเหของวัตถุ
n2    -    ดรรชนีหักเหของอากาศ
c    -    อัตราเร็วของแสง ( 3*108 m/s )
v    -    ความเร็วของแสงในวัตถุ

สูตร    การหาความยาวโฟกัส
f    =    
=    
u    =    
v    =    
---------------------------------------------------
สูตร    หากำลังขยาย
m    =        =        =        =    
f    -    ความยาวโฟกัส
R    -    รัศมีความโค้งของเลนส์
v    -    ระยะภาพ
u    -    ระยะวัตถุ
m    -    กำลังขยาย
I    -    ขนาดภาพ
O    -    ขนาดวัตถุ

สูตร    กล้องจุลทรรศน์
กำลังขยายกล้องจุลทรรศน์    =    mo * me
ความยาวของกล้องจุลทรรศน์    =    S'o * Se
me    -    กำลังขยายของเลนส์ใกล้ตา
mo    -    กำลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
S'o    -    ระยะภาพของเลนส์ใกล้วัตถุ
Se    -    ระยะภาพของเลนส์ใกล้ตา

สูตร    กล้องโทรทรรศน์
กำลังขยายของกล้องโทรทรรศน์    =    
ความยาวของบกล้องโทรทรรศน์    =    fo + fe
fo    -    ความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้วัตถุ
fe    -    ความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้ตา

สูตร    การหาความสว่าง
E    =    
E    -    ความสว่าง
F    -    อัตราพลังงานที่แสงตกพื้น
A    -    พื้นที่รับแสง

สูตร    ประสิทธิภาพของหลอดไฟ
ประสิทธิภาพของหลอดไฟ    =    ปริมาณแสงที่เปล่งออกมา / กำลังวัตต์ที่เข้าไป

กฏของแลมเบิร์ตโคไซน์
E2    =    E1 Cos   0
E1    -    ความสว่างบนพื้นที่ผิวรับแสง
E2    -    ความสว่างบนพื้นที่ผิวรับเอียงแสง
-    มุมที่พื้นที่รับแสงเอียงไปจากแนวฉาก

----------------------------------------------------------------------------------
สำหรับม.4 เทอม 2 
- เรื่องเสียงและการได้ยิน จะคล้ายกับเรื่องปรากฎการณ์คลื่น
- และเรื่องแรง มวล และกฎการเคลื่อนที่  จะเรียนเรื่องกฎของนิวตัน
เสียงและการได้ยิน
สูตร    การหาความเร็วของเสียงในอากาศ
vt    =    331 + 0.6t
vt    -    อัตราเร็วเสียงในอากาศที่อุณหภูมิ t ใด ๆ ( m / s )
t    -    อุณหภูมิของอากาศ ( ํc ) ต้องน้อยกว่า 45 ํc

สูตร    การหาระยะทางของการสะท้อนของเสียง
s    =    
s    -    ระยะทาง
v    -    ความเร็ว
t    -    เวลา

สูตร    การหาความถี่ของคลื่นลัพธ์
   =    
   -    ค่าเฉลี่ยของความถี่ที่เกิดขึ้น
f1    -    ความถี่ของแหล่งกำเนิด
f2    -    ความถี่ของแหล่งกำเนิด

สูตร    การหาความถี่บีตส์
fB    =        =    
fB    -    ความถี่บีตส์
   -    ผลต่างของความถี่บีตส์ , ความถี่บีตส์

สูตร    การหาความยาวคลื่น
   =    
l    -    ความยาวเชือก
n    -    จำนวน loop , จำนวนนับ

สูตร    การหาความเร็วของคลื่นตามขวาง
v    =    
T    -    แรงตึงในเชือก ( นิวตัน )
   -    มวล / ความยาว ( kg / m )

สูตร    การหาความถี่ในท่อปลายเปิด
fn    =    
 fn    -    ความถี่
n    -    จำนวนนับ
u    -    อัตราเร็ว
l    -    ความยาวของท่อ

สูตร    การหาความถี่ในท่อปลายปิด
fn    =    
n    -    จำนวนนับ ( แต่ต้องเป็นเลขคี่ )

สูตร    การหาความเข้มเสียง
I    =    
I    -    ความเข้มเสียง ณ ตำแหน่งต่าง ๆ ( วัตต์ / ตารางเมตร )
P    -    กำลังเสียงของแหล่งกำเนิดเสียง ( วัตต์ )
R    -    ระยะระหว่างแหล่งกำเนิดเสียงกับตำแหน่งที่หาความเข้มเสียง ( เมตร )

สูตร    การหาความถี่ที่ผู้ฟังได้ยิน
f '    =    fo
f '    -    ความถี่ที่ผู้ฟังได้ยิน
fo    -    ความถี่ของแหล่งกำเนิด
vl    -    ความเร็วของผู้ฟัง
vs    -    ความเร็วของแหล่งกำเนิด

สูตร    การหาความถี่ที่ผู้ฟังได้ยิน
เมื่อผู้ฟังเคลื่อนที่เข้าหาแหล่งกำเนิด และแหล่งกำเนิดอยู่นิ่ง
fL    =    
เมื่อผู้สังเกตุเคลื่อนที่ห่างแหล่งกำเนิด และแหล่งกำเนิดอยู่นิ่ง
fL    =    
fL    -    ความถี่ผู้สังเกตุ , ความถี่ที่ผู้ฟังได้ยิน
u    -    ความเร็วเสียงในอากาศ
vL    -    ความเร็วของผู้ฟัง

สูตร    การหาความยาวคลื่นเสียงเมื่อแหล่งกำเนิดเคลื่อนที่
เมื่อแหล่งกำเนิดวิ่งเข้าหาผู้ฟัง ( ด้านหน้า )
    =    
เมื่อแหล่งกำเนิดวิ่งห่างจากผู้ฟัง ( ด้านหลัง )
    =    
    -    ความยาวคลื่นด้านหน้า
    -    ความยาวคลื่นด้านหลัง

สูตร    การหาเลขมัค ( Mach nuber )
เลขมัค    =        =        =    

สูตร    การหาความเร็วของเครื่องบินซุปเปอร์โซนิค
v    =    u * เลขมัค
  
การเคลื่อนที่แนวตรง
 สูตร    การหาความเร็ว
v    =        =    
v    -    ความเร็วเฉลี่ย
s, s2    -    การกระจัด
t1 , t2    -    เวลา
   -    ผลต่างของการกระจัด
   -    ผลต่างของเวลา
vขณะหนึ่ง    =              0
vขณะหนึ่ง    -    ความเร็วขณะหนึ่ง
การหาอัตราเร็วเฉลี่ย และอัตราเร็วขณะหนึ่ง มีสูตรเหมือนความเร็ว แต่เป็นปริมาณสเกลาร์

สูตร    การหาความเร่ง
a    =        =        
a    -    ความเร่งเฉลี่ย
aขณะหนึ่ง    =              0
aขณะหนึ่ง    -    ความเร่งเฉลี่ยขณะหนึ่ง
สูตร    การหาการกระจัด และระยะทาง
s    =    ut +    =        =    

สูตร    การหาความเร็วปลาย
v    =    u + at
v2    =    u2 + 2as

สูตร    การหาความเร่ง
a    =        =        =    
s    -    ระยะทาง ( ไม่คิดเครื่องหมาย )
s    -    การกระจัด ( คิดเครื่องหมาย )
v    -    ความเร็วปลาย
t    -    เวลา
u    -    ความเร็วต้น
a    -    ความเร่ง , ความเร่งเฉลี่ย
   -    ความเร็วที่เปลี่ยนไป
   -    ช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงความเร็ว
  
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
 สูตร    แรงที่กระทำต่อวัตถุ
F    =    ma
F    -    แรงที่กระทำ
m    -    มวล
a    -    ความเร่ง

สูตร    การหาน้ำหนัก
W    =    mg
W    -    น้ำหนัก
m    -    มวล
g    -    แรงโน้มถ่วงโลก หรือ ความเร่ง

สูตร    อัตราส่วนระหว่างน้ำหนักของมวล 2 ก้อน เมื่ออยู่ในบริเวณเดียวกัน
   =    
W1    -    น้ำหนักมวลก้อน 1
W2    -     น้ำหนักมวลก้อน 2
m1    -    มวลก้อน 1
m2    -    มวลก้อน 2

สูตร    กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน
FG    =    
FG    -    ขนาดของแรงดึงดูด
G    -    ค่าคงตัวความโน้มถ่วงสากล
ค่า = 6.673*10-11 Nm2 / kg2

m1 , m2    -    มวลของวัตถุ
R    -    ระยะห่างของวัตถุทั้ง 2

สูตร    ความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วง ณ ตำแหน่งที่ห่างจากผิวโลก
g    =    
me    -    มวลโลก
Re    -    ระยะจากจุดศูนย์กลางถึงตำแหน่งต่าง ๆ

สูตร    อัตราส่วนความเร่งกับระยะห่างของวัตถุทั้ง 2
   =        =    
g1 , g2    -    ความเร่งของวัตถุทั้ง 2
R1 , R2    -    ระยะห่างของวัตถุทั้ง 2
h    -    ความสูง

สูตร    การหาแรงของวัตถุในแนวดิ่ง
วัตถุมีทิศทางขึ้น
T - mg    =    ma
วัตถุมีทิศทางลง
mg - T    =    ma
T    -    แรงที่วัตถุกระทำ

ที่มา:http://www.thaiblogonline.com/

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

วิธีเรียนภาษาอังกฤษให้เก่ง


วิธีเรียนภาษาอังกฤษให้เก่ง



ขั้นตอนแรกก็คือ จะต้องชอบและรักการเรียนรู้ อ่านและจดจำคำภาษาอังกฤษ ฝึกฝนทบทวนอยู่เสมออ่านมันให้หมด อะไรที่เป็นภาษาอังกฤษ อ่านได้หมด ทำเป็นประจำทุกๆวัน ไม่ว่าจะเป็นหนังสือ บทความ เว็บไซต์ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร การ์ตูน ใบปลิว ป้ายโฆษณาไปจนกระทั่งรอยขีดเขียนตามข้างกำแพงห้องน้ำ เรียกได้ว่าขยันอ่านอะไรที่มันเป็นภาษาอังกฤษอ่านไปเรื่อยๆ ให้เกิดความคุ้นเคย ยิ่งอ่านมากก็จะยิ่งเจอคำศัพท์มาก คำศัพท์ที่เราเคยเจอมา แล้วบ่อยขึ้นเรื่อยๆ จนเกิดคุ้นเคยรู้ความหมายของ ศัพท์คำนั้น ไม่ว่าจะด้วยการเดาจากความหมายโดยรวมของประโยค หรือจากการเปิด พจนานุกรม เราก็จะจดจำความหมายของศัพท์คำนั้นได้อย่างแม่นยำ ทีนี้ถ้าเรา อ่านเยอะ เราก็จะคุ้นเคยกับคำศัพท์เยอะแยะไปหมด หรือแม้แต่คำศัพท์ที่เรารู้ความหมายอยู่แล้ว แต่ไม่ค่อยได้พบ ถ้าเราอ่านภาษาอังกฤษเยอะๆ เราก็จะมีโอกาสพบศัพท์คำนี้บ่อยขึ้น ทำให้เราไม่ลืมความหมายของมันไปนั่นเอง
หาเพลงฝรั่ง พยายามแกะเนื้อหาเพลงนั้นๆ ว่าเกี่ยวข้องกับอะไร ดูหนังฝรั่ง เพื่อฝึกการแปลความหมาย ของประโยคพยายามอ่าน คำศัพท์ภาษาอังกฤษบ่อยๆ ฝึกเขียนภาษาอังกฤษอยู่เสมอ เช่นเขียนเป็นเรื่อง เขียนเรื่องราวในชีวิตประจำวัน หรืออาจจะเขียนเป็นนิยาย… แปะกระดาษโน้ตบนสิ่งของต่างๆ วิธีนี้จะเหมือนการเอาข้าศึกมาล้อมเมือง การแปะชื่อสิ่งของต่างๆที่เราใช้เป็นภาษาอังกฤษ ช่วยทำให้ชีวิตได้คุ้นเคยกับคำเหล่านี้มากขึ้น และเป็นการฝึกอ่านฝึกความเข้าใจไปในตัวด้วย ฝึกพูดกับชาวต่างชาติ ในสมัยนี้เทคโนโลยีก้าวไกล ลองหาเพื่อนต่างชาติจากอินเทอร์เน็ต เขียนประโยคโต้ตอบกัน อาจจะทาง E-mail, Facebook, MSN, การฝึกฝน ฟัง-พูด-อ่าน-เขียน เป็นการฝึกฝนที่ดี พยายามฝึกฝนตัวเองอยู่เสมอ รักการเรียนรู้ วันนี้เราอาจจะจดจำคำศัพท์ได้น้อย เพิ่มความชอบ ความรักในภาษาอังกฤษ มันทำให้เราสามารถทำอะไรก็ได้อย่างมีความสุขและไม่น่าเบื่อ ฝึกอ่าน ฝึกเขียน ฝึกพูดบ่อย ในที่สุดเราก็จะเก่งภาษาอังกฤษ แล้วเราก็จะหลงรักมันโดยไม่รู้ตัวเลยทีเดียว.

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS